Search
Close this search box.
Search
Close this search box.

Google Meet เพิ่มมุมมองขณะวิดีโอคอลได้ถึง 49 คน

ตอนนี้ใน Google Meet สามารถเห็นผู้ร่วมประชุมได้ถึง 49 คนพร้อมกัน ด้วยตัวเลือกมุมมองแบบอัตโนมัติและแบบตาราง (Tiled) นอกจากนี้ยังสามารถมองเห็นตัวเองเป็นส่วนหนึ่งในหน้าจอด้วย ซึ่งแต่เดิมคุณจะไม่เห็นภาพตัวเองเมื่อวิดีโอคอล โดยการวางเมาส์เหนือภาพ thumbnail ของตัวเองที่มุมขวาบน คุณจะเห็นตัวเลือกในการเพิ่มหรือลบตัวเองออกจากตาราง การเห็นผู้คนมากขึ้นในเวลาเดียวกันขณะประชุมช่วยให้สามารถเห็นปฏิกิริยาของทุกคนที่มีต่อสิ่งที่กำลังพูดคุย และช่วยให้รู้สึกว่าการวิดีโอคอลเหมือนเป็นการประชุมแบบตัวต่อตัว กระตุ้นให้ทุกคนมีส่วนร่วมมากขึ้น นอกจากนี้การเพิ่มตัวเองเข้าไปในหน้าจอจะช่วยให้คุณรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการประชุมนั้นๆ อีกด้วย ฟีเจอร์นี้พร้อมใช้งานใน Google Meet บนเว็บเบราวเซอร์เท่านั้น ตามค่าเริ่มต้นจำนวนตารางสูงสุดที่คุณจะเห็นในการจัดวางอัตโนมัติคือ 9 ช่อง และในรูปแบบ Tiled คือ 16 ช่อง แต่หลังจากอัปเดตนี้คุณจะสามารถใช้แถบเลื่อนเพื่อปรับจำนวนตารางได้ตามต้องการ หากคุณจำนวนตารางน้อยลงก็อย่าเพิ่งตกใจ จำนวนจะขึ้นอยู่กับขนาดหน้าต่างของคุณ เนื่องจากตารางที่มีจะปรับให้พอดีกับหน้าจอของคุณ โดยคุณสามารถใช้งาน Google Meet ได้ใน Google Workspace ทุกแพ็คเกจ ที่มา – G suite Updates Google Workspace เพื่อการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท ดีมีเตอร์ ไอซีที จำกัด พาร์ทเนอร์ Google ในประเทศไทย อย่างเป็นทางการ รายละเอียดแพ็คเกจ 02-030-0066...

Google Meet เพิ่มมุมมองขณะวิดีโอคอลได้ถึง 49 คน

ตอนนี้ใน Google Meet สามารถเห็นผู้ร่วมประชุมได้ถึง 49 คนพร้อมกัน ด้วยตัวเลือกมุมมองแบบอัตโนมัติและแบบตาราง (Tiled) นอกจากนี้ยังสามารถมองเห็นตัวเองเป็นส่วนหนึ่งในหน้าจอด้วย ซึ่งแต่เดิมคุณจะไม่เห็นภาพตัวเองเมื่อวิดีโอคอล โดยการวางเมาส์เหนือภาพ thumbnail ของตัวเองที่มุมขวาบน คุณจะเห็นตัวเลือกในการเพิ่มหรือลบตัวเองออกจากตาราง การเห็นผู้คนมากขึ้นในเวลาเดียวกันขณะประชุมช่วยให้สามารถเห็นปฏิกิริยาของทุกคนที่มีต่อสิ่งที่กำลังพูดคุย และช่วยให้รู้สึกว่าการวิดีโอคอลเหมือนเป็นการประชุมแบบตัวต่อตัว กระตุ้นให้ทุกคนมีส่วนร่วมมากขึ้น นอกจากนี้การเพิ่มตัวเองเข้าไปในหน้าจอจะช่วยให้คุณรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของการประชุมนั้นๆ อีกด้วย ฟีเจอร์นี้พร้อมใช้งานใน Google Meet บนเว็บเบราวเซอร์เท่านั้น ตามค่าเริ่มต้นจำนวนตารางสูงสุดที่คุณจะเห็นในการจัดวางอัตโนมัติคือ 9 ช่อง และในรูปแบบ Tiled คือ 16 ช่อง แต่หลังจากอัปเดตนี้คุณจะสามารถใช้แถบเลื่อนเพื่อปรับจำนวนตารางได้ตามต้องการ หากคุณจำนวนตารางน้อยลงก็อย่าเพิ่งตกใจ จำนวนจะขึ้นอยู่กับขนาดหน้าต่างของคุณ เนื่องจากตารางที่มีจะปรับให้พอดีกับหน้าจอของคุณ ที่มา – G suite Updates G Suite เพื่อการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท ดีมีเตอร์ ไอซีที จำกัด พาร์ทเนอร์ Google ในประเทศไทย อย่างเป็นทางการ รายละเอียดแพ็คเกจ 02-030-0066...

10 ข้อ ที่ต้องรู้หากคุณใช้ G Suite (ต่อ)

6. สร้างรายการงานที่แชร์ใน Google Chat และมอบหมายงานได้เลย การใช้งานห้องแชทบน Gmail จะมีตัวจัดการงานเพื่อช่วยให้ทีมติดตามและจัดลำดับความสำคัญของงาน สมาชิกทีมจะมอบหมายงานให้กันและติดตามความคืบหน้าในการบรรลุเป้าหมายร่วมกันได้โดยตรงในห้องแชท ดูข้อมูลเพิ่มเติม : สร้างรายการงานที่แชร์ 7. ค้นหาสิ่งที่ต้องการได้ทั้งในอีเมลและแชทในหน้า Gmail เมื่อคุณทำการค้นหาบน Gmail  คุณจะเลือกดูผลลัพธ์จากอีเมลหรือข้อความแชทก็ได้ และการควบคุมใหม่จะช่วยให้คุณเปลี่ยนไปมาระหว่างผลลัพธ์จากอีเมลและแชทได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่จำเป็นต้องเปิดและค้นหาในแอปแยกต่างหาก ดูข้อมูลเพิ่มเติม : ค้นหาใน Gmail 8. สามารถรับการช่วยเตือนและการกระตุ้นเตือนแบบอัตโนมัติ (AI) ได้ การช่วยเตือนอัตโนมัติจะแสดงข้อความที่คุณยังไม่ได้ตอบกลับ และจะใช้ AI ในการประมวลผลให้ เพื่อช่วยลดสิ่งรบกวนสมาธิและแจ้งเตือนเฉพาะข้อมูลที่สำคัญให้กับคุณ จัดลำดับความสำคัญของรายชื่อติดต่อที่ต้องการเพื่อให้มั่นใจว่าระบบจะแจ้งเตือนเกี่ยวกับข้อความที่สำคัญที่สุดให้คุณทราบ ดูข้อมูลเพิ่มเติม : ไม่ลืมติดตาม “การกระตุ้นเตือน” 9. ควบคุมและจัดลำดับความสำคัญของการแจ้งเตือนในช่องทางต่างๆ ได้ คุณอาจปิดเสียงหรือการแจ้งเตือนของ Chat เพื่อไม่ให้รบกวนเวลายุ่ง ๆ หรือจะตั้งค่าให้แจ้งเตือนเกี่ยวกับบุคคลและข้อความที่สำคัญที่สุดเท่านั้นก็ได้เช่นกัน ดูข้อมูลเพิ่มเติม : ตั้งค่าการแจ้งเตือนของ Chat 10. ทราบได้ทันทีเมื่อผู้อื่นลางานหรืออยู่ในช่วงวันหยุด เมื่อคุณดูรายชื่อติดต่อในอีเมลหรือข้อความแชท คุณจะเห็นว่าบุคคลนั้นลางานอยู่หรือไม่โดยอิงจาก Google Calendar ของบุคคลดังกล่าว คุณจึงทราบได้ว่าอาจไม่ได้รับคำตอบในทันทีหากบุคคลนั้นไม่อยู่ และยังช่วยให้คุณเลือกได้ว่าจะยังคงส่งข้อความ หรือจะตั้งเวลาส่งอีเมลหลังจากที่บุคคลนั้นกลับมาทำงานแล้ว ดูข้อมูลเพิ่มเติม : การควบคุมการลางานในปฏิทิน G Suite เพื่อการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท ดีมีเตอร์ ไอซีที จำกัด พาร์ทเนอร์ Google ในประเทศไทย อย่างเป็นทางการ รายละเอียดแพ็คเกจ 02-030-0066...

10 ข้อ ที่ต้องรู้หากคุณใช้ G Suite

เพื่อให้เกิดการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เราจะพามาดู 10 ข้อที่ต้องรู้หากคุณใช้ G Suite ซึ่ง 10 ข้อนั้นมีอะไรบ้าง ไปดูกันเลย 1. สื่อสารครบจบที่เดียวใน Gmail G Suite ได้รวมเอาช่องทางการสื่อสารทั้งหมดเข้ามาไว้ที่หน้า Gmail ที่เดียว เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และเข้าถึงได้ทุกอุปกรณ์ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือแท็บเล็ต  การใช้งานในหน้า Gmail จะไม่ได้มีเพียงแค่รับส่งเมลเท่านั้น แต่ยังมีห้องแชท (Google Chat) และการประชุมทางวิดีโอ (Google Meet) ทำให้คุณสามารถสื่อสารครบจบที่เดียวโดยที่ไม่ต้องสลับหน้าต่างหรือย้ายแอปให้ยุ่งยาก หากไม่พบ Google Chat และ Meet ให้ตรวจสอบการตั้งค่า Gmail และสามารถเปิดใช้งานได้ที่แถบ Chat and Meet ได้เลย ดูข้อมูลเพิ่มเติม: แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดสำหรับการสื่อสารในกลุ่ม 2. แชทตัวต่อตัวหรือกลุ่ม ได้ง่ายยิ่งขึ้น ใช้ Google Chat ส่วนตัวเพื่อการสนทนาแบบตัวต่อตัวอย่างรวดเร็วกับเพื่อนร่วมงาน หรือสร้างกลุ่มแบบเป็นกันเองและแชทกับหลาย ๆ คนได้พร้อมกันในหน้า Gmail ทางด้านขวา เรามาดูกันเลยว่าในหน้าต่าง Chat กับ Room คืออะไร Chat: เป็นช่องส่งข้อความส่วนตัวเพื่อสนทนาอย่างรวดเร็วและใช้ Bot เพื่อค้นหาข้อมูลและทำงานแบบอัตโนมัติได้ * หมายเหตุ: หากใช้ Gmail จากที่ทํางานหรือสถานศึกษา คุณอาจไม่เห็น Bot หากผู้ดูแลระบบ G Suite ปิดใช้ Bot ให้กับองค์กร และสร้างห้องแชทสำหรับการทำงานร่วมกันเป็นทีมอย่างเป็นทางการมากขึ้น เพื่อเป็นพื้นที่ให้ทีมได้ร่วมกันดำเนินโครงการ ในห้องแชท ทีมจะมีชุดข้อความที่เรียกว่าการสนทนาในหัวข้อต่าง ๆ ได้ในห้องเดียว และทุกคนที่ถูกเพิ่มไปยังห้องแชทก็จะดูประวัติการสนทนาเพื่อติดตามการพูดคุยก่อนที่ตนจะเข้ามาได้ ปักหมุด (Pin) คนหรือห้องแชทที่คุณติดต่อด้วยบ่อย ๆ ไว้ที่ด้านบนของรายการเพื่อให้สะดวกต่อการค้นหา Rooms: สร้างพื้นที่ทำงานสำหรับโครงการหรือทีมของคุณที่มีข้อความแชท เอกสาร และงานที่ใช้ร่วมกัน แก้ไขเอกสารไปพร้อมกับสตรีมแชท ดูข้อมูลเพิ่มเติม : ...

Continue reading

WeChat Official Account มีความสำคัญในการบุกตลาดจีนหรือไม่ ?

WeChat Official Account เป็นเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดออนไลน์สำหรับเเบรนด์ที่ต้องการเข้าสู่ตลาดจีน หรืออยากที่จะเจาะตลาดนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางมาประเทศไทย ซึ่งมีเเบรนด์ธุรกิจทั่วโลกหันมานิยมใช้ WeChat Official Account (WeChat OA) ในการบุกตลาดจีนกันมากขึ้น จึงเหมาะกับธุรกิจที่ต้องสื่อสารกับคนมากๆ เช่น ร้านค้าต่างๆ เเบรนด์กระเป๋า, เสื้อผ้า, รองเท้า, โรงพยาบาล หรือ คลินิกใหญ่ๆ เเม้เเต่เเบรนด์ใหญ่ๆของโลกอย่าง Apple ก็ยังมีบัญชี WeChat OA  สาเหตุก็คือพฤติกรรมชาวจีนได้เปลี่ยนเเปลงไปเข้าสู่ยุคดิจิทัลอย่างเต็มรูปเเบบ ซึ่งจากการสำรวจพบว่า ชาวจีนกว่า 90% ทำการชำระเงินทางออนไลน์ผ่านมือถือกันมากที่สุด เเละมีผู้ใช้งานชาวจีนราว 80% ติดตาม WeChat OA ของเเบรนด์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน การมี WeChat OA ทำให้ลูกค้ามีช่องทางติดต่อเจ้าของเเบรนด์ได้โดยตรง เเละทำให้ง่ายกว่าการติดต่อเเบบอื่นๆ เช่น การติดต่อผ่านทางเว็บไชต์ที่เป็นเหมือนการสื่อสารทางเดียว คือเเบรนด์สื่อถึงลูกค้าได้อย่างเดียว นอกจากนี้การนำเข้าสินค้า หรือเเบรนด์ไปสู่ตลาดการค้าในจีนนั้น WeChat OA ก็เป็นสิ่งทีจำเป็นพอสมควรเพราะว่า WeChat OA เปรียบเสมือนการสร้างตัวตนในประเทศจีน ให้ชาวจีนรู้จักได้อย่างกว้างขว้าง  อย่างไรก็ตาม WeChat OA สามารถลงคอนเทนต์ วีดีโอ หรือรูปภาพ เพื่อทำการโปรโมทได้ 4 ครั้งต่อเดือน เเละควรทำการโปรโมทอย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 ครั้ง ในขณะเดียวกัน การทำโฆษณาใน WeChat OA จะต้องตรวจเช็คให้ดีก่อนลง เพราะกฎหมายในจีนค่อนข้างเข้มงดในการลงโฆษณาเกินความเป็นจริง หรืออวดสรรพคุณเกินพอดีก็จะโดนตรวจสอบ  เเละไม่สามารถลงโฆษณาได้  ตัวอย่างสินค้าที่ไม่สามารถลงโฆษณาได้ เช่น ยา สินค้าเกี่ยวกับสุขภาพ บุหรี่ เหล้า สมุนไพรบางชนิดอย่างไรก็ตามการมี WeChat OA ทำให้ลูกค้าเข้าถึงเเบรนด์ได้ง่ายมากขึ้น คือลูกค้าสามารถรับรู้โปรโมชั่นได้ทันที เเละเจ้าของเเบรนด์สามารถเพิ่มยอดติดตาม WeChat OA ได้ด้วยการที่ทางเเบรนด์เเปะ QR Code ไว้ที่ตัวของสินค้านั้นๆ เพื่อให้ลูกค้าสเเกน เเละกดติดตามร้านค้าได้ทันทีเพื่อรับรู้ข่าวสารบัญชี ซึ่ง WeChat OA มีค่าใช้จ่ายขั้นต่ำหลักหมื่นบาทต่อปี ...

Continue reading

SLA คืออะไร?

SLA ย่อมาจาก Service Level Agreement หรือแปลเป็นไทยก็คือ ข้อตกลงระดับในการให้บริการ ระหว่างผู้ให้บริการ และ ลูกค้า ซึ่งเป็น “สัญญา” ที่เป็นทางการคือมีผลทางกฏหมาย หรือ จะไม่เป็นทางการคือไม่มีผลทางกฏหมายก็ได้ขึ้นอยู่กับข้อตกลงของแต่ละบริษัท และส่วนประกอบหลัก ๆ ในข้อตกลง SLA นั้นจะประกอบไปด้วย หน้าที่และข้อจำกัดของการบริการ ระยะเวลาในการให้บริการ การยกเลิกข้อตกลง เพื่อให้มั่นใจได้ว่าทั้งสองฝ่ายจะได้รับการปฏิบัติตามข้อตกลงอย่างสม่ำเสมอ โดยส่วนใหญ่ธุรกิจหรือองค์กรที่เริ่มนำระบบ SLA มาใช้ มักจะเป็นบริษัทจำพวกเครือข่ายอินเตอร์เน็ต, ธุรกิจ E-commerce, โทรคมนาคม, ธุรกิจที่มีจำนวนลูกค้าในระดับหนึ่งหรือผู้ให้บริการ Cloud Service อย่างเช่น การบริการลูกค้าบนช่องทางออนไลน์ ซึ่งในปัจจุบันก็เป็นที่นิยมในหลากหลายธุรกิจและเริ่มแพร่หลายอย่างมากในหลายประเทศ ซึ่งทาง Zendesk ที่เป็น Digital Customer Service Software ก็มองเห็นถึงความสำคัญและความต้องการของธุรกิจที่อยากจะนำ SLA มาใช้ในกระบวนการบริการลูกค้า Zendesk จึงได้พัฒนาฟีเจอร์ SLA ขึ้นมาในระบบของตนเองด้วย โดยที่ระบบ SLA ของ Zendesk นั้นจุดประสงค์หลักคือ การนำเอามาเพื่อประเมินการปฏิบัติงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานมากที่สุด ยกตัวอย่างเช่น Business Hour คือ พนักงานตอบกลับลูกค้าที่ส่งเคสเข้ามาครั้งแรกเมื่อไหร่? แต่ละเคสใช้เวลาในการปิดเท่าไหร่? ต้องแก้ให้ได้กี่เคสภายในกี่วัน? กี่วันอาทิตย์? กี่เดือน? และมีหัวข้อในการวัดผลอีกมากมายตามเป้าหมายของบริษัท ก็จะสามารถนำข้อมูลมาประเมินผลการทำงานของพนักงานได้ดียิ่งขึ้น และยังช่วยลดการทำงานทั้งระหว่างคนประเมินผลและคนถูกประเมินอีกด้วย หากต้องการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกเลย! ทดลองใช้ Zendesk trial ฟรี สอบถาม ราคา Zendesk ติดต่อบริษัท ดีมีเตอร์ ไอซีที จำกัด ผู้ให้บริการระบบ Zendesk ในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ – Zendesk Thailand Partner ซอฟต์แวร์เพื่อการซัพพอร์ตลูกค้าแบบ Omnichannel สำหรับทุกธุรกิจ บริษัท ดีมีเตอร์ ไอซีที จำกัด – Your CX Transformation Partner ผู้ให้บริการ Zendesk...

Continue reading

Google Meet ปรับโฉมใหม่ในแอป

Google Meet ได้ปรับโฉมใหม่ในแอปโทรศัพท์ สำหรับ IOS และ Android ที่ให้ความรู้สึกเหมือนกับใช้ผ่านทาง Gmail – Google Meet ใน Gmail สำหรับ iOS และ Android ซึ่งการปรับปรุงแอปในครั้งนี้ เมื่อกดที่ปุ่ม New Meeting จะพบกับ 3 ตัวเลือก เพื่อให้คุณเลือกใช้งานได้ง่ายและดวกขึ้น คือ 1. Get meeting joining info to share with others (สร้างห้องประชุมพร้อมกับแชร์ลิงก์และข้อมูลให้กับคนอื่น ๆ) 2. Start a Meet call instantly (เริ่มการประชุมแบบทันที) 3. Schedule a new meeting in Google Calendar (กำหนดวันและเวลาประชุมลงใน Google Calendar) Google Meet การประชุมแบบออนไลน์ (Video Conference) ที่จะทำให้การทำงานของคุณมีประสิทธิภาพมากขึ้น  G Suite เพื่อการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท ดีมีเตอร์ ไอซีที จำกัด พาร์ทเนอร์ Google ในประเทศไทย อย่างเป็นทางการ รายละเอียดแพ็คเกจ 02-030-0066...

5 Fun Facts ของ Omnichannel ที่คุณ(อาจ)ไม่รู้ แต่ Zendesk รู้

‘Omnichannel’ คำอันติดหูที่เชื่อว่าใครอยู่ในแวดวงธุรกิจก็คงได้รู้จักผ่านหูผ่านตามาบ้างสักครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวิกฤตโควิด-19นี้ ที่ Omnichannel หรือ ‘ช่องทางการตลาดแบบบูรณาการ’ ปรากฏให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อแค่การมีช่องทางการขายที่หลากหลายก็อาจไม่เพียงพออีกต่อไป แต่เป็นการเชื่อมต่อประสบการณ์ช่องทางเหล่านั้นอย่างไร้รอยต่อ ที่เป็นหนึ่งในกลยุทธ์สำคัญให้ธุรกิจดำเนินต่อไปได้ ในบทความนี้ เราจะมาดู 5 Fun Facts ของ Omnichannel ที่คุณอาจไม่รู้ แต่ Zendesk รู้กัน 1. ลูกค้ามักจะเรียกร้องการซัพพอรต์แบบ Omnichannel อยู่ทุกวัน สิ่งหนึ่งที่หลายธุรกิจทำพลาด ก็คือการให้ลูกค้าต้องเอ่ยเล่าถึงปัญหาอยู่ซ้ำๆ ซากๆ แบบนั้น และผลลัพธ์ที่ตามมาจากอารมณ์ที่ดิ่งลงเหวนี้ ก็คือออเดอร์ที่ถูกยกเลิก สูญเสียความลอยัลตี้ของลูกค้า หรือแม้แต่อย่างหนัก ในยุคที่อินเตอร์เน็ตเฟื่องฟูข่าวสารทั่วถึงนี้ อาจจะถึงขั้นที่แบรนด์ถูกประณามจนชื่อเสียงติดลบเลยก็ว่าได้ แต่ปัญหานี้ก็สามารถแก้ได้อย่างง่ายดาย เพียงปิดจุดบกพร่องด้วยการสื่อสารไร้รอยต่อแบบ Omnichannel ที่ซึ่งการทำงานของฝ่ายซัพพอรต์จะเชื่อมรู้ถึงกันเสมอ ไม่ว่าช่องทางไหน ก็มอบประสบการณ์ที่ดีแก่ลูกค้าได้ 2. ช่องทางมากขึ้น โอกาสก็มากตาม Omnichannel Solution ช่วยลดเวลา ลดค่าใช้จ่าย และลดค่าเสียโอกาสในการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า ระยะเวลาการรอที่ลดน้อยลง ทำให้ลูกค้าไม่เสียอารมณ์และคงไว้ซึ่งความรู้สึกที่ดีต่อแบรนด์ ร่วมกับการเข้าถึงอย่างมีประสิทธิภาพของเจ้าหน้าที่ ทั้งหมดนี้จะทำให้ CSAT คะแนนความพึงพอใจของลูกค้าทะยานสูงมากขึ้น และเมื่อลูกค้าแฮปปี้ พนักงานก็จะแฮปปี้ตามเหมือนกัน 3. เรียบง่าย แต่ได้ผลประโยชน์ยาว Omnichannel Support ช่วยเปิดมุมมองใหม่ของลูกค้า ให้มั่นใจว่าเข้าถึงลูกค้าทุกคนได้อย่างไม่ตกหล่น เจ้าหน้าที่ยังสามารถบันทึกข้อมูลเป็น Records ต่างๆ ไม่ว่าลูกค้าจะเข้าหาจากช่องทางไหนก็ตาม 4. รวมช่องทางการติดต่อไว้ในที่เดียว เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่ ช่องทางการติดต่อสื่อสารที่ไซโลล่าช้า พาลให้การทำงานของเจ้าหน้าที่ช้าตามไปด้วย ยกตัวอย่างหากว่าเจ้าหน้าที่รับหน้าที่ควบคู่ทั้งซัพพอรต์ทางมือถือกับไลฟ์แชทแล้วล่ะก็ ไหนจะต้องเข้าแดชบอรด์เพื่อดูคิวของลูกค้า ช่องทางที่แยกจากกันทำให้การทำงานเป็นไปอย่างยากลำบากและไม่มีประสิทธิผลนัก 5. กว่าจะเป็น Omnichannel ไม่ยากอย่างที่คิด ยกตัวอย่างบริษัท Standley Black & Deckor ที่ใช้ระยะเวลาแรกเริ่ม 3 สัปดาห์ในการเข้ารับ Implementation จาก Zendesk ในการติดตั้งทั้ง Zendesk Support, Guide, Chat และ Zendesk...

Continue reading